ลำดับ | วันที่ประกาศ | ตำแหน่ง | สังกัด | อัตรา | ลิ้งค์สมัครงาน | เอกสาร |
---|---|---|---|---|---|---|
– | – | – | – | – | – | – |
ลำดับ | วันที่ประกาศ | ตำแหน่ง | สังกัด | อัตรา | ลิ้งค์สมัครงาน | เอกสาร |
---|---|---|---|---|---|---|
– | – | – | – | – | – | – |
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
[/trp_language]
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
[/trp_language]
[/trp_language]
This will close in 0 seconds
1. สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
2. สมาคม/สถาบันด้านเทคโนโลยี
3. กระทรวงศึกษาธิการ
4. กระทรวงแรงงาน
5. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
6. มหาวิทยาลัย/สถาบันการศึกษา
7. องค์กรระหว่างประเทศ
8. องค์กรเอกชน
This will close in 0 seconds
การประมาณการความต้องการบุคลากรสำหรับระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนระยะ 15 ปี ประเทศไทยได้กำหนดนโยบายการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ซึ่งมีโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์เป็นส่วนหนึ่งของฐานในการขับเคลื่อนการพัฒนา โดยเฉพาะระบบการขนส่งทางรางทั้งในด้านการขนส่งสินค้าและการขนส่งผู้โดยสาร และได้นำไปสู่การวางแผนขยายเส้นทางของระบบรางของประเทศ ทั้งในระบบการขนส่งทางไกล ซึ่งเป็นระบบโครงข่ายที่กระจายอยู่ทั่วประเทศ และระบบขนส่งรถไฟฟ้าในเมืองและรถไฟฟ้าระหว่างเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบไฟฟ้าขนส่งมวลชนในเมือง เนื่องด้วยประเทศไทยกำลังดำเนินการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนทางรางประเภทรถไฟฟ้า และในบางเส้นทางนั้นมีแนวโน้มที่กำลังจะเปิดให้บริการในระยะเวลาอันใกล้สทร. ในฐานะหน่วยงานที่มีพันธกิจตามกฎหมายในการดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรระบบรางของประเทศ จึงได้ดำเนินการศึกษาและพัฒนาการประมาณการความต้องการบุคลากรสำหรับระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ระยะ 15 ปี เพื่อส่งเสริมการผลิตและพัฒนาบุคลากรระบบรางในประเทศ รวมถึงเพื่อเป็นกรอบแนวทางในการขับเคลื่อนการผลิตและพัฒนาบุคลากรระบบรางให้กับภาคผู้กำหนดนโยบาย ภาคผู้เดินรถ/ผู้ประกอบการ และภาคการศึกษาและฝึกอบรม รวมถึงประชาชนทั่วไปที่สนใจด้วย จากการศึกษาและรวบรวมข้อมูลแนวปฏิบัติทั้งในประเทศ และต่างประเทศ พบว่า กลุ่มงานและตำแหน่งงานที่เป็นส่วนหลักพื้นฐานในการบริหารจัดการเดินรถหนึ่งเส้นทางที่สำคัญ คือ ฝ่ายงานบริหารจัดการเดินรถ ซึ่งเป็นกลุ่มงานที่ต้องมีความรู้และประสบการณ์ด้านความปลอดภัยและด้านเทคนิค เพื่อให้สามารถบริการได้อย่างมีมาตรฐาน สะดวกสบาย ตรงต่อเวลา และปลอดภัยแก่ผู้รับบริการ รายงานการศึกษานี้ จึงมุ่งเน้นศึกษาและประมาณการความต้องการบุคลากรในฝ่ายงานบริหารจัดการเดินรถเป็นสำคัญ ซึ่งประกอบด้วย 3 กลุ่มงานหลัก ได้แก่
- กลุ่มงานสถานี
- กลุ่มงานเดินรถ
- กลุ่มงานซ่อมบำรุงรักษา
จากการปริมาณความต้องการของบุคลากรของระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในระยะ 15 ปี ในทุกกลุ่มงานพบว่า ประเทศไทยมีความต้องการถึง 6,292 –7,600 คน
*ข้อมูลจาก : หนังสือ การประมาณการความต้องการบุคลากรสำหรับระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนระยะ 15 ปี (จัดพิมพ์กระทรวงคมนาคม สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน)3D FlipBook
This will close in 0 seconds
ด้วยกลุ่มงานวิจัยและพัฒนามาตรฐานและการทดสอบ สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) (สทร..) มีพันธกิจในการพัฒนามาตรฐานระบบการทดสอบและดำเนินการทดสอบด้านระบบราง ซึ่งทาง บริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด (WCE) บริษัทในเครือสหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำกัด (SSI) ได้เป็นพันธมิตรและทำบันทึกตกลงความร่วมมือ (MOU) ระหว่าง สทร. กับ WCE เรื่อง การส่งเสริมสนับสนุนการยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมระบบรางของประเทศ” โดยทาง WCE ได้เชิญให้ สทร. เข้าร่วมสังเกตการณ์การทดสอบ Static Test และ Running Test ของรถโบกี้บรรทุกตู้สินค้า (บทต ตามมาตรฐานวิธีการทดสอบการรถไฟแห่งประเทศไทย โดยดำเนินการระหว่างวันที่ 8 11 พฤษภาคม 2566 ณ บริษัท เวสโคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด และสถานีรถไฟนาผักขวง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
3D FlipBook
This will close in 0 seconds
เอกสารฉบับนี้ จัดทาขึ้น เพื่อศึกษาแนวทางการผลักดันและส่งเสริมการผลิตชิ้นส่วนอะไหล่และผลิตภัณฑ์ด้านอุตสาหกรรมการขนส่งทางรางให้เกิดขึ้นในประเทศ ตามการพัฒนาห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) เพื่อให้เกิด Local Content ที่ยั่งยืน สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ควบคู่กับแผนยุทธศาสตร์คมนาคม ซึ่งทาง สทร. ได้เล็งเห็นความสาคัญการสนับสนุนการสร้างอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนระบบรางในประเทศ เพื่อสนับสนุนนโยบาย Thai First ผ่านแผนงานบูรณาการความร่วมมือ เพื่อยกระดับคุณภาพบริการและการผลิตให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล
3D FlipBook
This will close in 0 seconds
"บทบาท Connector ขับเคลื่อนเทคโนโลยีไปสู่ภาคอุตสาหกรรมระบบรางของไทย"
สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) หรือ สทร. ได้ผนึกกำลังสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภาคส่วนต่างๆ เพื่อพัฒนากรอบทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีระบบรางของประเทศ ให้เดินหน้าไปอย่างมั่นคง ควบคู่กับแผนยุทธศาสตร์กระทรวงคมนาคม โดยบูรณาการแผนงาน โครงการต่างๆ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์การจัดตั้ง 6 พันธกิจ ดังนี้
1. จัดทำยุทธศาสตร์ด้านเทคโนโลยีระบบรางของประเทศเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา
2. วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบรางรวมทั้งสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับระบบราง และร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนเพื่อนำงานวิจัยและนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์
3. วิจัยและพัฒนามาตรฐานระบบรางและระบบการทดสอบด้านระบบราง ดำเนินการทดสอบด้านระบบราง และรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพสำหรับใช้ประกอบการยื่นคำขอใบอนุญาตประกอบกิจการขนส่งทางราง
4. ร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศ ด้านการวิจัยและนวัตกรรม และการรับ แลกเปลี่ยนถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง และเป็นศูนย์กลางในการรับ แลกเปลี่ยน และถ่ายทอดเทคโนโลยีระบบราง
5. พัฒนาบุคลากรด้านระบบรางและจัดให้มีการฝึกอบรมเพื่อให้การรับรองความรู้และทักษะให้แก่บุคลากรด้านระบบราง
6. จัดทำฐานข้อมูลด้านเทคโนโลยีระบบราง เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับงานวิจัยและนวัตกรรม หน่วยงาน ผู้เชี่ยวชาญ และ ข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีระบบราง
โดยปัจจุบันได้สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน แล้วกว่า 6 ความร่วมมือ มากกว่า 10 หน่วยงาน และยังคงเดินหน้าเสริมสร้างเครือข่ายการพัฒนาที่เข้มแข็งอย่างต่อเนื่อง
This will close in 0 seconds
สทร. ในฐานะหน่วยงานที่มีพันธกิจในการดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรระบบรางของประเทศ ได้ดำเนินการศึกษาและพัฒนาการประมาณการความต้องการบุคลากรสำหรับระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ระยะ 15 ปี เพื่อส่งเสริมการผลิตและพัฒนาบุคลากรระบบรางในประเทศ รวมถึงเป็นกรอบแนวทางในการขับเคลื่อนการผลิตและพัฒนาบุคลากรระบบรางให้กับภาคผู้กำหนดนโยบาย ผู้เดินรถ/ผู้ประกอบการ และภาคการศึกษาและฝึกอบรม รวมถึงประชาชนทั่วไปที่สนใจ
ผลการศึกษาพบว่า ฝ่ายงาน กลุ่มงาน และตำแหน่งงานที่เป็นส่วนหลักพื้นฐานในการบริหารจัดการเดินรถหนึ่งเส้นทางที่สำคัญ คือ ฝ่ายงานบริหารจัดการเดินรถ โดยมี 3 กลุ่มงานหลักพื้นฐาน ได้แก่
กลุ่มงานสถานี
กลุ่มงานเดินรถ
กลุ่มงานซ่อมบำรุงรักษา
ทั้งนี้ ฝ่ายงานและกลุ่มงานดังกล่าว ต้องอาศัยความรู้และประสบการณ์ เพื่อสามารถให้บริการได้อย่างมีมาตรฐาน สะดวกสบาย ตรงต่อเวลา และปลอดภัยแก่ผู้รับบริการจากการศึกษาพบว่า ในระยะ 15 ปีข้างหน้านี้ ประเทศไทยมีความต้องการบุคลากรของระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ในทุกกลุ่มงานมากถึง 6,292 –7,600 คน
รายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติม : รายงานการประมาณการความต้องการบุคลากรสำหรับระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนระยะ 15 ปี จัดพิมพ์โดย สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) กระทรวงคมนาคม
คลิกเพื่ออ่าน e-Book และ Download รายงานได้ที่ https://www.rtrda.or.th/3d-flip-book/wb-1#สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง #กระทรวงคมนาคม #การประมาณการความต้องการบุคลากรสำหรับระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนระยะ 15 ปี
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) เล็งเห็นถึงความจำเป็นเร่งด่วน โดยได้ดำเนินการลงพื้นที่เพื่อทำการตรวจวัดค่ามลพิษทางอากาศ ณ บริเวณ ชานชาลา สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ โดยใช้เทคนิควิธีการวัดและเครื่องมือที่ได้มาตรฐานสากล และมีระบบ คุณภาพเป็นไปตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 แต่อย่างไรก็ดี ผลการตรวจวัดดังกล่าว ไม่สามารถแปรผลและ ใช้งานได้ทันที จำเป็นต้องถูกวิเคราะห์อย่างละเอียด เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องตรงประเด็น อัน จะช่วยให้การกำหนดแนวทางแก้ไขปัญหาสามารถดำเนินการได้อย่างเป็นรูปธรรม อีกทั้งยังช่วยลดค่าใช้จ่ายใน ดำเนินการปรับปรุง และป้องกันปัญหาดังกล่าวด้วย
This will close in 0 seconds
ทางสถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) เล็งเห็นถึงความจําเป็นเรื่องด่วนในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จึงได้เรื่องดําเนินการลงพื้นที่เพ่ือทําการตรวจวัดค่า มลพิษทางด้านเสียงรบกวน ณ บริเวณชานชาลา สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ โดยใช้เทคนิควิธีการวัดและ เครื่องมือที่ได้มาตรฐานสากล และมีระบบคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 แต่อย่างไรก็ดี ผลการตรวจวัดดังกล่าว ไม่สามารถแปรผลและใช้งานได้ทันที จําเป็นต้องถูกวิเคราะห์อย่างละเอียด เพื่อให้ สามารถแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องตรงประเด็น อันจะช่วยให้การกําหนดแนวทางแก้ไขปัญหาสามารถดําเนินการ ได้อย่างเป็นรูปธรรม อีกทั้งยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในดําเนินการปรับปรุง และป้องกันปัญหาดังกล่าวด้วย
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
การดำเนินโครงการขนส่งทางรางด้านต่างๆ ไม่ว่าด้านออกแบบ การกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของชิ้นส่วนอุปกรณ์ การติดตั้ง การทดสอบ การซ่อมบำรุง และการเดินรถ จำเป็นต้องปฏิบัติหรืออ้างอิงให้เป็นไปตามมาตรฐานระบบรางที่เป็นสากลหรือเป็นที่ยอมรับ แต่ปัจจุบัน พบว่า การกำหนดมาตรฐานระบบรางในประเทศไทยยังมีข้อจำกัด
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
สทร. HSR-CT-(4001-4006):2567
ชุดมาตรฐานการทดสอบเพื่อควบคุมคุณภาพคอนกรีตสด(FRESH CONCRETE)
จัดทำโดย กลุ่มวิจัยและพัฒนามาตรฐานและการทดสอบ สำนักพัฒนาการวิจัยและนวัตกรรมเทคโนโลยีระบบราง สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน)
This will close in 0 seconds
รายงานแผนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางคุณภาพด้านระบบรางของประเทศ(NQI)
จัดทำโดย กลุ่มวิจัยและพัฒนามาตรฐานและการทดสอบ สำนักพัฒนาการวิจัยและนวัตกรรมเทคโนโลยีระบบราง สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน)
This will close in 0 seconds
This will close in 0 seconds
A/C Train : Inclusivity
ปัจจุบันมีผู้ใช้บริการรถไฟทางไกลชั้น 3 มากกว่า 23 ล้านคนต่อปี โดย เฉพาะอย่างยิ่งรถไฟสายเหนือและสายตะวันออกเฉียงเหนือ และในช่วงเทศกาลที่มีนักท่องเที่ยวและผู้เดินทางกลับภูมิลำเนาจำนวนมาก ซึ่ง ผู้โดยสารต้องเผชิญกับสภาพอากาศร้อนของประเทศไทยที่มีอุณหภูมิเฉลี่ย 30-38 องศาเซลเซียส ตลอดทั้งปี ประกอบกับระยะเวลาเดินทางจาก กทม. สู่ต่างจังหวัดนั้นใช้เวลาราว 8-10 ชั่วโมง การเดินทางโดย รถไฟชั้น 3 จึงไม่สะดวกสบายเท่าที่ควรจากสภาพอากาศที่ร้อนและการรบกวนจากกลิ่นและเสียง เป็นเหตุให้รถไฟชั้น 3 ไม่ได้รับการตอบรับที่ดีเท่าที่ควร
กระทรวงคมนาคมเห็นความสำคัญของการยกระดับคุณภาพการให้บริการรถไฟชั้น 3 เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของ ประชาชนผ่านการยกระดับบริการพื้นฐานด้านการขนส่งสาธารณะ โดย สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) หรือ สทร. ร่วมกับการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) และผู้ประกอบการอุตสาหกรรมในประเทศไทย ดำเนินโครงการวิจัยและพัฒนาดัดแปลงตู้รถไฟชั้น 3 โดยการติดตั้งระบบปรับอากาศ รวมถึงยกระดับระบบริการ เช่น ระบบระบายอากาศ ห้องน้ำและการออกแบบภายในตู้โดยให้มีความทันสมัย สะอาด ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตามแนวคิด “รถไฟชั้น 3 เย็น สะดวก สะอาด ปราศจากกลิ่นรบกวน”
จุดเด่น
Global Standard Design Criteria: ออกแบบโดยคำนึงถึง 3 หลักการสำคัญคือ (1) ความแข็งแรงปลอดภัยของตู้โดยสาร (2) ความสะดวกสบายและสุขอนามัยในการใช้บริการ (3) เพิ่มประสิทธิภาพ ยกระดับบริการขนส่งผู้โดยสาร
Global Standard AC & HVAC System: ระบบปรับอากาศ (Air Condition) ระบบไหลเวียนอากาศ (HVAC) ระบบกักเก็บความเย็น (Insulation) มาตรฐานระดับสากล ออกแบบโดยภาคอุตสาหกรรมชั้นนำของไทยที่มีประสบการณ์มากกว่า 50 ปี
Better Quality & Standard: ยกระดับระบบบริการภายในห้องโดยสาร เช่น ที่นั่ง ที่เก็บสัมภาระ มือจับ ห้องน้ำ และระบบเพื่อความปลอดภัยภายในตู้โดยสารมาตรฐานสากล
Modern Design: ออกแบบภายในให้ทันสมัย เน้นฟังก์ชั่นการใช้งาน
This will close in 0 seconds